website hit counter

เว็บไซต์
วิทยาลัยการอาชีพสตึก

 

Unit 2
Pronunciation2

Grammar Practice
ทักษะทางด้านกรออกเสียงพยัญชนะ (consonant) เสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษส่วนใหญ่คนไทย ทำได้ แต่ก็มีหลายเสียงที่คนไทยออกเสียงได้ยาก ได้แก่ /S/ /Z/
 
1. เสียงพยัญชนะ /s/ และ /z/ เสียง /s/ และ /z/ เป็นเสียงพยัญชนะเสียดแทรก (alveolar fricatives) ที่เกิดขึ้นไกกับปุ่ม หงือก ปลายลิ้นจะขึ้นไปใกล้กับปุ่มเหงือก แต่ไม่แตะปุ่มเหงือก และส่วนกลางของลิ้นจะมี ลักษณะคล้ายร่องลงไป ลมจากปอดจะสอดแทรกผ่านร่องมาและเกิดเป็นเสียงขึ้น เสียง /s/ และ /z/ จะต่างกัน คือเสียง /s/ เป็นเสียงไม่ก้อง และเสียง /z/ จะเป็นเสียงก้อง

การออกเสียง S เสียงต้น จะออกเสียงเหมือนพยัญชนะ ส เสือ ถ้าเป็นเสียงลงท้ายออกเหมือนเสียง ซือ ให้เสียงเหมือนลผ่นช่องกระจก โดยพูดให้เพียงแค่ลมออกจากปาก และลำคอไม่สั่น (เป็นเสียงแบบ voiceless) เวลาออกเสียงให้ฉีกยิ้มแล้วพ่นลมผ่านไรฟัน ไม่ต้องเอาลิ้นออกมา ลมที่ออกมาให้นานสัก 2:3 วินาที ปล่อยให้เสียง เกิดเองตามธรรมชาติจากการพ่นลมลองออกเสียง เช่น soนnd (ซซซซ ซาว-เนอะ-คี) stock (ซซซซ หอค-คี) ให ออกเสียงลม ซซซซ เท่านั้น ไม่ต้องออกเสียง "สะ" เหมือนเสียง ส ในภาษาไทย เมื่อเป็นตัวสะกดก็เช่นเดียวกัน ออกเสียง ซซซซซ ..... ท้ายคำ ไม่ออกเสียงเป็นแม่ กค (http://aunchaleegosa.blogspot.com)

เสียง /s/ กี่เกิดในตำแหน่งต้นคำ เช่น save search season sock sea sight sand sound
เสียง /s/ กี่เกิดในตำแหน่งท้ายคำ เช่น this loose close bus base mass cross

การออกเสียง Z ขณะเปล่งเสียเส้นเสียงสั่น การปล่งเสียงมีลักษณะเดียว คือ /z/ จะออกเสียงเหมือน ส เสือ และ ซ โช เวลาพูดจะมีการสั่นของเสียง (voice sound) โดยเมื่อเอามือจับที่ใต้ฟันล่าง แล้วออกเสียงจะมีการ สั่นของลำคอ

เสียง /z/ ที่เกิดในตำแหน่งต้นคำ เช่น Zoo Zone zoom zeal zip zinc
เสียง /z/ ที่เกิดในตำแหน่งท้ายคำ เช่น buzz amaze quiz raise those nose
เสียง /z/ เมื่ออยู่ในรูปตัวสะกด ออกเสียงในกรณีต่าง ๆ ดังนี้
- เมื่อหน้า ร เป็นเสียงสระ ให้ออกเสียง /z/ เช่น is his has
- เมื่อ s อยู่ระหว่างสระหรือพยัญชนะเสียงก้อง /b/, /d/, /g/, /v/, 13/, /z/, /j/, /d3/, /m/,/n/, /n/, /, , /w,y/ให้ออกเสียง /z/ เช่น busy husband easy bosom cards bags dreams 25 fans

เมื่อ s อยู่ท้ายพยัญชนะเสี ยงก้อง ให้ออกเสียง /Z/ เช่น heads flms holds says
เมื่อเติม s หรือ es อยู่ท้ายคำที่สะกดด้วย s, ss, se, ce ให้ออกเสียง /(2/ และเป็นการเพิ่ม พยางค์ 1 พยางค์ เช่น buses places roses nursesh bosses

/Ch/ /Sh/
2. เสียง /Ch/ และ /Sh/ การออกเสียงsh ch ออกเสียงจากลำคอฟันหน้าบนและล่างกับริม สระอุ) มฝีปากอม (เสียงสั้น) นจะแตะที่หลังฟันบนหน้า เสียง ch ออกเส ยงเหมือนพยัญชนะ -ช- เป็นเสียง ชอ แบบกระแหก ๆ ตอนเริ่มต้นลิ้ ยง เชอะ สระอุ) เปิดออกกว้าง (เสียงยาว) กับ ch (ชช-สัน สระอิ เหลื่อมมาตรงเพดานปากเล็ กนอย เมื่อออกเสียงให้กระแทกเป็นเสีี ยงลมออกมาเหมือนเ เสียง ชอ แบบเบาๆ ไม่มีการกระแทก หรือออกเสีย เป็นเสียงลมเฉย ๆ ยาว ๆ อย่างต่อเนื่อง จะน้อยกว่าแบบก่อน อาจมีเสีีย ยงลมกระแทกอ กล่าวคือเสียง ch จะออกเสีย ยงแข็ง กระด้าง กระแทกกว่าเสี ผู้บ้าง เสียง ชอ ของไทยอาจอยู่กึ่งกลางระหว่างเสี ยง -ชอ- ในขณะที่เสียง รh จะเบาและอ่อนโยน ไม่กระแทกเท่าเสียง ชอ ในภาษาไทย

เสียง /ch/ กี่เกิดในตำแหน่งต้นคำ เช่น chip chew chore cheat chop a chin chatroom
เสียง /ch/ กี่เกิดในตำแหน่งท้ายคำ เช่น touch bench watch which
เสียง /sh/ กี่เกิดในตำแหน่งต้นคำ เช่น ship shoe shore sheet shop shell show
เสียง /sh/ กี่เกิดในตำแหน่งท้ายคำ เช่น dish wish cash brush

/ L /

3.เสียง L ออกเสียงเหมือนกับพยัญชนะ "ล" ของไทย เวลาออกเ นนจะแตะอ ผู้ที่เพดานปาก เล็กน้อย (หรือตำแหนหลังมเหอก) การออกเสียง L จะเน้นชัดหรือหนักแน่นกว่าการออกเสีย เวลาออกเสียงพยัญชนะ L ให้ดันลิ้นให้ติดเพดานปากมากขึ้นกว่าเดิม เสียงก็็ จะหนักแน่นมาก พยัญชนะ Lหรือ "ล" จะออกเสียงเป็น "........ ลากยาวต่อเนื่องได้โดยลมจะ รั่วออกทาง าขน lock bill fill

เสียง /ป ที่เกิดในตำแหน่งต้นคำ เช่น lemon left leave letter like listen long look
เสียง /ป/ ที่เกิดในตำแหน่งท้ายคำเช่น well tell bill fll careful seal tale feel

4. เสี ยง R การออกเสียงพยัญชนะ R เทียบเท่ากับพยัญชนะ "ร" ในภาษไทยแต่มีความแตกต่างกัน เวลา เปล่งเสี ยยง ร ต้องกระดก นขึ้นแตะเพดานปากกร็งไว้เล็กน้อย เมื่อพ่นลมผ่านระหว่างลิ้นกับเพดาน านจะมี วเล่นลมเ กนอย แต่การเปล่งเสี ยง R ไม่ได้มีการใช้ลิ้นช่วยในการเปล่งเสียงแต่อย่างใด ให้วางลิ้นไว้ใน ที่ปกติ ให้ห่อปากแบบ นออกมาด้านหน้า เผยอริมฝีปากบนล่างเกร็งไว้ กรออกเสียง R เป็นเสียงลม ไม่ใช่เสียง จริง เวลาออกเ ยงพยั ชนะต้น ให้ยื่นปาก เผยอริมฝีปากเหมือนจะพูดว่า "อ" แล้วเปล่งเสียงสระตัวสะกดตาม จึงจบ มา เช่น roof (อ-รูฟ) แต่ไม่ต้องพูด "อ" ออกมาจริง ๆ ถ้า เป็นตัวสะกดให้พูดพยัญชนะต้นและสระ แ คำด้วยท่าเหมือนจะพูดว่า "อ "ค้างไว้ ก็จะได้เสียง R ตามที่ต้องการ เช่น bear far (http://aunchaleegosa. blogspot.com)

เสียง /R/ ที่เกิดในตำแหน่งตันคำ เช่น run read ring red rabbit rank rapid rare record
เสียง /R/ ที่เกิดในตำแหน่งท้ายคำ เช่น more far fre before labor wonder

/th/

5. เสียง Th เสียง th ในภษาอังกฤษ มีวิธีออกเสี ยง 2 แบบ เสีีย ยงแรก จะออกโดยการเอาลิ ในออกมา ระหว่างฟัน แล้วพ่นลมออกมา โดยสนเสียงในลำคอปิดหรืบีบแคบลง และขณะที่ลมดันผ่าน จะเกิดการ ของเส้นเสียง (viced) สังเกตง่ยๆด้วยการเอามือไปจับที่คอขณะออกเสียง ถ้าเราออกเสียงถูกมือเราจะ ชกถง การสั่นของเส้นเสียงที่อยู่ภายใน เช่น คำว่ this these that those เสียงที่สอง ให้เอาลิ้นออกมาระหว่าง ฟัน และพ่นลมออกมาเหมือนกัน แต่เส้นเสียงในลำคอไม่สั่น (voiceless) คำที่ใช้เสียงนี้ เช่น both thick bath (http://helendoronrama9.com/th-sound/)

เสียง /th/ กี่เกิดในตำแหน่งต้นคำ เช่น thick thin thank then they this that than their
เสียง /th/ กี่เกิดในตำแหน่งท้ายคำ เช่น smooth both depth fourth north with

 

6. เสียง V กรออกเสียง ง ให้ทำปกเหมือนเสียง -ฟ- ในภาษไทย แต่พยายามพูดเป็นเสียง น รออกเสียง V ให้ออกเสียงเหมือนเสียง เฟอะ ทั้งตอนเริ่มต้น และตอนเปล่งเสียง แต่ห้พยายามพูดเป็นเสีย ฟอะ เวลาออกเสียงลมจะผ่านฟันน้อยกว่า เฟอะ แต่มีความก้องมากกว่า และอาจยาวก (http://betterenglishforthai.net/)

เสียง N/ ที่เกิดในตำแหน่งต้นคำ เชน view very van vacancy vacation vain valid vase cave give เสียง N/ ที่เกิดในตำแหน่งท้ายคำ เช่น have leave serve reserve live

7. เสี ยง G ออกเสี ยงแบบอักษร"จ" แต่ยื่นปากมากกว่าภาษาไทยหน่อยหนึ่ง เช่น gym gente บางค งก็ออกเสียงเป็น "ก" ก็ให้ยื่นปากก่อนพูด "ก" เป็นใช้ได้ เช่น gold girl
เสียง /G/ ที่เกิดในตำแหน่งต้นคำ เช่น grl gold gun gas
เสียง /G/ ที่เกิดในตำแหน่งท้ายคำ เช่น leg

เสียงสระ (Vowel)
สระในภาษไทยมียอะและครอบคลุมสระในภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด แต่บางเสียงก็ไม่ตรงกันเสี แต่ก็ถือว่าใช้ได้ และไม่มีผลต่อการสื่อสารมากนัก

 

นายวิโรจณ์ ทองเรือง

ผอ.วิทยาลัยการอาชีพสตึก

นางสาวณิชา แสงรัตนวงศ์

ครูผู้สอนรายวิชา

ภาษาอังกฤษฟัง - พูด

นางสาวขวัญเรือน นันทแสง

ครูผู้สอน


วิทยาลัยการอาชีพสตึก 100 หมู่ที่ 23 ถ. บุรีรัมย์-มหาสารคาม ต.นิคม อ.สตึก จ.บุรีรัมย์ 31150 โทร. 0-4468-0114 , 08-1955-1489 Fax 0-4468-0208
SATUK INDUSTRIAL AND COMMUNITY EDUCATION COLLEGE